• หน้าแรก
  • เกี่ยวกับโครงการ
  • ติดต่อ
  • ลงทะเบียน
  • เข้าสู่ระบบ
  • หน้าแรก
  • ข่าวของฉัน
    • ข่าวของฉัน
    • ข้อมูลส่วนตัว
  • อ่านข่าว
    • ข่าวทั้งหมด
    • ข่าวแยกตามจังหวัด
    • ข่าวผลงานใต้ร่มพระบารมี
    • ข่าวผลงานที่ได้รับรางวัล
  • เขียนข่าว
  • คู่มือเขียนข่าว
สุ่มข่าว
  • *คณิตวิทย์สร้างสรรค์
  • *ศิลปะสร้างสรรค์ (Super Teacher)
  • *โครงการ กิจกรรมสะอาดใสปลอดภัยโรค
  • *Play&Learn เพลินไปกับการประกันคุณภาพการศึกษา
  • *Healthy yummy for kids อาหารดี มีประโยชน์
  • *โครงการเรื่อง รวมพล ชนเผ่า เด็กปฐมวัย ใต้ร่มพระบารมี
  • *Play and learn เพลินไปกับการเล่านิทาน
  • *คณิตวิทย์คิดส์สร้างสรรค์
  • *สนามเด็กเล่นเพื่อหนูน้อย
  1. เรื่อง : เสริมสร้างการเรียนรู้(571461321106)
  • สร้างโดย  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ล้อม
  • สังกัด  อปท.    จังหวัด  มหาสารคาม
  • ผู้จัดทำ  นางณิชชา หม่วยนอก (571461321106)   วันที่สร้าง  27 มีนาคม 2559, 10:39 น.
  • ประเภทตัวชี้วัด  ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน

       ดิฉันนางณิชชา หม่วยนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ล้อมประเพณีลอยกระทง เป็นประเพณีของไทยที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณ วันเพ็ญเดือน ๑๒ เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวง ท้าให้แม่น้ำสะอาด แสงจันทร์ส่องเวลากลางคืน เป็นบรรยากาศที่สวยงาม เหมาะแก่การลอยกระทง เดิมพิธีลอยกระทง เรียกว่า พระราชพิธีจองเปรียง ชักโคม ลอยโคม ซึ่งเป็นพิธีของพราหมณ์ เพื่อบูชาพระเจ้าทั้งสาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม คนไทยนับถือพระพุทธศาสนาก็ท้าพิธียกโคมเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ พระจุฬามณี ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ลอยโคมบูชาพระพุทธบาท ต้านานเรื่องของการลอยกระทงมีความเชื่อแตกต่างกันไปแล้วแต่พื้นที่ในแต่ละท้องถิ่น ศาสนา ที่แต่ละท้องถิ่นยึดถืออยู่ วิธีการลอยกระทงก็แตกต่างกันไปด้วยการลอยกระทงในปัจจุบัน ยังคงรักษารูปแบบเดิมเอาไว้ได้ตามสมควร เมื่อถึงวันเพ็ญเดือนสิบสอง ชาวบ้านจะจัดเตรียมท้ากระทงจากวัสดุที่หาง่ายจากธรรมชาติ เช่น หยวกกล้วยและดอกบัว นำมาประดิษฐ์เป็นกระทงสวยงาม ปักธูปเทียนและดอกไม้เครื่องสักการบูชา ก่อนท้าการลอยในแม่น้ำก็จะอธิษฐานในสิ่งที่มุ่งหวัง พร้อมขอขมาต่อพระแม่คงคา เพราะได้อาศัยน้ำท่านกินและใช้ แม้ว่าความเชื่อและวิธีการลอยกระทงจะมีความแตกต่างไปตามแต่ท้องถิ่น แต่ความเชื่อที่เหมือนกันคือ ประเพณีการลอยกระทง เป็นคติความเชื่อของชนชาติที่ประกอบอาชีพกสิกรรม ซึ่งมีน้ำเป็นปัจจัยหลัก ในการประกอบอาชีพที่ทำให้พืชเจริญงอกงามสมบูรณ์ จึงมีการลอยกระทงไปตามกระแสน้ำ เพื่อขอบคุณพระแม่คงคาหรือเทพเจ้าแห่งนำ้อีกกทั้งเป็นการแสดงความคารวะขออภัยที่ได้ลงอาบ หรือปล่อยสิ่งปฏิกูลลงน้ำ ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม หลังจากการลอยกระทงแล้วก็จะมีการละเล่นรื่นเริงสนุกสนาน อันเป็นธรรมเนียมในการสร้างความกลมเกลียวของคนในชุมชนอีกด้วย ศูนย์พัฒนาเด็เล็กวัดมหาคงคาได้เล็งเห็นความสำคัญของประเพณีไทย จึงสืบสานประเพณีไว้ ได้พานักเรียนทำกระทงเพื่อปลูกฝังให้เด็กรุ่นหลังได้สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยเด็กมีความตื่นเต้นที่จะทำกระทงกันมาก ครูได้บอกให้เด็กเตรียมอุปกรณ์ในการทำกระทงเมื่อถึงวันทำกระทง ครูและเด็กนักเรียนร่วมกันทำกระทงอย่างสวยงาม และเด็กให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

  • ดูแบบเต็ม
แชร์ข่าวนี้
แชร์

ข่าวล่าสุด

  • กิจกรรมเสริมประสบการณ์
  • การประกันคุณภาพภายในศูนย์พัฒน...
  • การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของศ...
  • การสอน ทำหน้ากากผ้า
  • มาตรการเฝ้าระวังในเด็กปฐมวัยโ...

Tag

  • #เมนูข่าว
  • #ข่าวล่าสุด
  • #สถานศึกษาที่ส่งข่าวมากที่สุด
  • #จังหวัดที่ส่งข่าวเยอะสุด

ติดต่อ

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (สำนักงานประสานงานกลางโครงการความร่วมมือฯ รมป.)

เลขที่ 295 ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทร. 022445982-83
แฟกซ์ 022445927
อีเมล์ dusitcenter@gmail.com

แผนที่

Copyright © 2018-present All rights reserved , powered by www.dusitcenter.org

Developed By Polpipat S.