• หน้าแรก
  • เกี่ยวกับโครงการ
  • ติดต่อ
  • ลงทะเบียน
  • เข้าสู่ระบบ
  • หน้าแรก
  • ข่าวของฉัน
    • ข่าวของฉัน
    • ข้อมูลส่วนตัว
  • อ่านข่าว
    • ข่าวทั้งหมด
    • ข่าวแยกตามจังหวัด
    • ข่าวผลงานใต้ร่มพระบารมี
    • ข่าวผลงานที่ได้รับรางวัล
  • เขียนข่าว
  • คู่มือเขียนข่าว
สุ่มข่าว
  • *คณิตวิทย์คิดสร้างสรรค์(กิจกรรมเป่าหลอดให้เกิดเสียง)
  • *กระทงน้อยร้อยรัก
  • *Play&Learn เพลินไปกับประกันคุณภาพการศึกษา
  • *หนูน้อยรักผักสวนครัว
  • *คณิตวิทย์คิดสร้างสรรค์
  • *กิจกรรมแห่เทียนจำนำพรรษา
  • *สถานศึกษาสามารถจัดประสบการณ์เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  • *กิจกรรมสร้างสรรค์การประิดิษฐ์ลิงจ๋อ
  • *โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส
  1. เรื่อง : กิจกรรม การปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้าน
  • สร้างโดย  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนข่า โนนยาง
  • สังกัด  อปท.    จังหวัด  อุบลราชธานี
  • ผู้จัดทำ  นายปฏิกรณ์ โพธาราม   วันที่สร้าง  10 พฤศจิกายน 2558, 20:53 น.
  • ประเภทตัวชี้วัด  สถานศึกษามีทรัพยากรและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

       (1)กิจกรรม การปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้าน (2.)ขั้นตอนการจัดทำกิจกรรม 1.จัดเตรียมสถานที่เพื่อปลูกสมไพร 2.เตรียมพันธุ์สมุนไพรที่จะปลูก 3.ลงมือทำกิจกรรมการปลูกสมุนไพร 4.ดูแล รดน้ำ พรวนดิน 5.จัดเวรดูแลพืชสมุนไพรของตนเอง (3.)ประโยชน์ที่ได้รับ 1.มีพืชสมุนไพรไว้เป็นแหล่งเรียนรู้ 2.เด็กๆได้รู้จักพันธ์พืชสมุนไพรและประโยชนม์ของสมุนไพรที่นำมาปลูก 3.เด็กรู้จักดูแลและรักษาพืชสมุนไพรที่ปลูก 4.เพื่อความสวยงามของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5.เด็กมีความสามัคคีจากการลงมือทำกิจกรรมมีการช่วยเหลือกัน (4)รูปแบบการสอน การเรียนรู้จากสภาพจริง คือ เน้นการปฎิบัติจริงให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อฝึกการแก้ปัญหา รู้จักรักและหวงแหนในสิ่งที่ตนเองได้ลงมือปฎิบัติ และเพื่อเสริมทักษะการดำเนินชีวิตให้กับตัวเด็กโดยใช้ทฤษฎีของโมเดลซิปปา(CIPPA Modal)โดยการการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง CIPPA ที่ประกอบด้วย C=Construction of knowledge การสร้างความรู้ด้วยตนเอง I=Interaction การมีปฏิสัมพันธ์ P=Process skills ทักษะกระบวนการ P=physical participation มีการเคลื่อนไหวร่างการ A=Application การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ บทบาทครู 1.วางแผนและกระบวนการสอน 2.ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 3.จัดการเรียนที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวันและสภาพแวดล้อม 4.ประเมินผุ้เรียนโดยการปฏิบัติกิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน 2สัปดาห์ ตัวชี้วัดความสำเร็จตามมาตรฐานการศึกษา(ขั้นพื้นฐาน)ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (1)มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน(2)ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมพื้นที่สีเขียว และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดการศึกษา(3)มีและใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นทั้งในและนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(4)จัดห้องเรียนห้องพิเศษพื้นที่สีเขียวสนามเด็กเล่นและสิ่งอํานวยความสะดวกเพียงพอให้อยู่ในสภาพใช้การได้ดี(5)มีความสามัคคี(6)มีส่วนร่วมพัฒนากิจกรรม/โครงการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมทั้งในและนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(7)สนใจและปฏิบัติกิจกรรม(8)ปฏิบัติกิจกรรมสําเร็จและภูมิใจในผลงาน(9)มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต(10)ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมสนับสนุนในการจัดและพัฒนาการศึกษา

  • ดูแบบเต็ม
แชร์ข่าวนี้
แชร์

ข่าวล่าสุด

  • กิจกรรมเสริมประสบการณ์
  • การประกันคุณภาพภายในศูนย์พัฒน...
  • การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของศ...
  • การสอน ทำหน้ากากผ้า
  • มาตรการเฝ้าระวังในเด็กปฐมวัยโ...

Tag

  • #เมนูข่าว
  • #ข่าวล่าสุด
  • #สถานศึกษาที่ส่งข่าวมากที่สุด
  • #จังหวัดที่ส่งข่าวเยอะสุด

ติดต่อ

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (สำนักงานประสานงานกลางโครงการความร่วมมือฯ รมป.)

เลขที่ 295 ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทร. 022445982-83
แฟกซ์ 022445927
อีเมล์ dusitcenter@gmail.com

แผนที่

Copyright © 2018-present All rights reserved , powered by www.dusitcenter.org

Developed By Polpipat S.

ขอเครดิตฟรีหน่อยครับสมัครปุ๊บรับปั๊บไม่ต้องฝาก สล็อตออนไลน์ เครดิตโบนัสได้เงินจริง slot938 สล็อต สล็อตออนไลน์ thaicasinobin แจกเครดิตฟรี สล็อต บาคาร่า คาสิโนออนไลน์ JQK41 สล็อต เครดิตฟรี ไทยคาสิโนออนไลน์ thaibet55 kubet ไทยคาสิโนออนไลน์ แทงบอล ซอคเกอร์ลีก คะแนนฟุตบอล เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์ เว็บรวมข้อมูล พนันออนไลน์เว็บไหนดี ได้เงินจริง พร้อมฟรีเครดิต