บทความวิชาการ “ท้าไมต้องร่วมกันคิด ร่วมกันพัฒนาเด็ก”
สร้างโดย ศพด.ปฐมวัย"ทีปังกรการุณยมิตร"หนองบอน (จังหวัดมหาสารคาม)
ผู้จัดทำ นางสาวภัทธรา อ่อนธรรมา
ประเภทตัวชี้วัด : สถานศึกษามีความร่วมมือระหว่างบ้าน,ศาสนา,การศึกษา,ภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในชุมชน
ปัจจุบันการพัฒนาเด็กปฐมวัยนั้น ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เริ่มมาจากกระแสการปฏิรูป การศึกษาที่ได้ เน้นย้้าความส้าคัญของการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และมีวัฒนธรรมในการด้ารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ภายใต้ค้าจ้ากัดความว่า “เก่ง ดี มีสุข” ท้าให้เกิดการจัดการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญในการเรียนรู้ เด็กปฐมวัย เป็นเด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์ การอบรมและเลี้ยงดูแก่เด็กปฐมวัยมีความส้าคัญอย่างมาก เนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการการเรียนรู้ใน สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน จากบิดา มารดา คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะ ส่งผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของ บุคลิกภาพ อุปนิสัย และการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ สมอง สติปัญญา และ ความสามารถ การจัดประสบการณ์ส้าหรับเด็กปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย จะต้องจัดในรูปของ กิจกรรมบูรณาการผ่านการเล่น โดยที่การเล่นดังกล่าว ต้องไม่ใช่การเล่นโดยไม่มีจุดมุ่งหมาย และไม่ใช่การ ยัดเยียดเน้ือหาของระดับประถมศึกษาให้แก่เด็ก การจัดประสบการณ์ท่ีเหมาะสมส้าหรับเด็กปฐมวัย ครู จะต้องเข้าใจการเรียนรู้ที่เด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์และธรรมชาติ การเรียนรู้ให้แก่เด็ก ดังหลักการ ส้าคัญในการจัดประสบการณ์ส้าหรับเด็กปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ดังนี้ 1. จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างต่อเนื่อง 2. เน้นเด็กเป็นส้าคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและ บริบทของสังคมที่เด็กอาศัยอยู่ 3. จัดให้เด็กได้รับการพัฒนาโดยให้ความส้าคัญทั้งกับกระบวนการและผลผลิต 4. จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่งของการจัด ประสบการณ์ 5. ให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก
ที่มา : http://special2.dusitcenter.org/cdcnews/content.php?nid=5955 | เลขที่ข่าวอ้างอิง : 5955