โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย “สายใยรักศิษย์ – ลูก” “กิจกรรมการทาขนมเทียน เพียรผูกรัก จากภูมิปัญญาท้องถิ่น”
สร้างโดย ศพด.อบต.วังยาว (จังหวัดมหาสารคาม)
ผู้จัดทำ นางสาวภัทธรา อ่อนธรรมา
ประเภทตัวชี้วัด : สถานศึกษามีความร่วมมือระหว่างบ้าน,ศาสนา,การศึกษา,ภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในชุมชน
โดยการทากิจกรรมการห่อขนมเทียนนี้มีการร่วมมือร่วมใจกันทา จากคณะครู ผู้ปกครอง และเด็ก นักเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลวังยาว ชว่ ยกันทาตั้งแต่ขั้นตอนแรกตั้งแต่การหาใบตอง เตรียมวัตถดุ ิบ เตรียมส่วนผสม จนถึงขั้นตอนสุดท้ายในการรวมกันทากิจกรรมครั้งนี้ ซึ่งเป็นการเสริมทักษะใน การใช้ชีวิต การทางานร่วมกัน ตลอดจนการใช้ชีวิตในสังคมร่วมกับผู้อื่น จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบันมีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนอย่างรวดเร็ว ทาให้ระบบ คุณค่าที่ดีของสังคมไทยเสื่อมถอยลง เช่น ความเอื้ออาทร ทาให้ขาดความสานึกในด้านคุณธรรม จริยธรรม ปัญหาเด็กและเยาวชนที่เกิดจากการรับค่านิยมและวัฒนธรรมที่ไม่พึงประสงค์ นาไปสู่ปัญหา คุณธรรมต่าง ๆ เช่น ปัญหาทางเพศ ความรุนแรง และยาเสพติด เป็นต้น ก็จะยกระดับจิตใจและเพิ่มพูน สติปัญญาให้แก่เด็ก ก็สามารถจะพัฒนาตนเองให้เป็นคนดีในสังคมได้ ปลูกจิตสานึกค่านิยม และคุณค่าความ เป็นไทย เข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม ตลอดจนรู้เท่าทันโลก ซึ่งถือเป็นอานาจหน้าที่ของบ้าน สถานศึกษา และชุมชนส่วนรวมต้องพิจารณาดาเนินการป้องกันและแก้ไขต่อไป ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลวังยาวจึงเห็นควรจัดโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะ ทางสังคมของเด็กปฐมวัย “สายใยรักศิษย์-ลูก” กับกิจกรรมการทาขนมเทียน เพียรผูกรัก ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต่อไป กิจกรรมการทำขนมเทียน เพียรผูกรัก จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบล วังยาว โดยสังเกตเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 30 คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้ 1. เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นในการทางานที่ได้รับมอบหมายได้ เด็กให้ความสนใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.33 2. เด็กสามารถทางานร่วมกับบุคคลอื่นได้ เด็กให้ความสนใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.33 3. เด็กมีความกระตือรือร้นในการทากิจกรรม เด็กให้ความสนใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.33 4. เด็กสามารถแก้ปัญหาง่ายๆในระหว่างการทางานได้ เด็กให้ความสนใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 73.33 5. เด็กสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ในการหยิบจับ สัมผัสได้ เด็กให้ความสนใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 86.67 6. เด็กร่วมสนทนา ซักถามกับครูและเพื่อนได้ เด็กให้ความสนใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 80 “กิจกรรมการทาขนมเทียน เพียรผูกรัก จากภูมิปัญญาท้องถิ่น” ตามที่จัดทาโครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย “สายใยรักศิษย์ – ลูก” กิจกรรมการทาขนมเทียน เพียรผูกรัก จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบการเรียนการสอนตามรายวิชา ดังนี้ วิชาทักษะชีวิต วิชาการสร้างความสัมพันธ์ สถานศึกษา บ้านและชุมชน วิชาทักษะทางสังคมและการจัดประสบการณ์เรียนรู้ นั้นได้จัดทาโครงการพัฒนา ทักษะเด็กปฐมวัย “สายใยรักศิษย์ – ลูก” กิจกรรมการทาขนมเทียน เพียรผูกรัก จากภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรมนี้สามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ จิตใจละสติปัญญา ได้รับการพัฒนาเพื่อให้เด็กทราบถึงขั้นตอนและวิธีการทาขนมเทียนไส้หวาน ซึ่งสามารถนาไปทารับประทาน เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น และนาไปสู่การพัฒนาครอบครัวและ ชุมชน ให้ได้รับการพัฒนาจิตและคุณภาพชีวิตตามหลักทักษะในการใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข จากโครงการนี้ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เด็กได้รู้จักการนาไปใช้ในการดารงชีวิต มีพัฒนาการเหมาะสม ตามวัย ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ โดยการมีส่วนร่วม ระหว่าง สถานศึกษา บ้านและชุมชนในการ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก ให้สามารถดารงอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
ที่มา : http://special2.dusitcenter.org/cdcnews/content.php?nid=5954 | เลขที่ข่าวอ้างอิง : 5954