ทัศนะศึกษาแห่ลงเรียนรู้ภูมิปัญญา

สร้างโดย ศพด.โรงเรียนบ้านปากคลอง๓๑ (จังหวัดนครนายก)

ผู้จัดทำ นางวรรณภา ชมภู

ประเภทตัวชี้วัด : ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน



            ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือสิ่งที่บรรพบุรุตสืบทอดพัฒนา... เพื่อการดำรงชีวิตที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การสืบทอดรวมถึงการสั่งสมภูมิปัญญาของชนรุ่นก่อนนั้น สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ได้เห็นถึงความสามารถ... ภูมิปัญญาในการประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติรอบกายมาประกอบรวบรวมเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ ต่างๆ ได้เห็นถึงความเฉลียวฉลาดของการสอนลูกหลานในรูปแบบของความเชื่อ และประเพณี และการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการที่ครูพาเด็กไปศึกษาแห่ลงเรียนรู้ภูมิปัญญาการทำไม้กวาด ทำพรมเช็ดเท้า การเย็บผ้าโหล ทำให้เด็กได้เห็นผลิตภัณฑ์ที่มีใช้ตามบ้านเรือน เด็กๆได้เรียนรู้วิธีการขั้นตอนการทำและวัสดุที่นำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ เด็กๆได้ลงมีปฏิบัติ ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานและได้ประสบการณ์ที่ดีในการออกมาทัศนะศึกษาแห่ลงเรียนรู้ภูมิปัญญา

ที่มา : http://special2.dusitcenter.org/cdcnews/content.php?nid=5232 | เลขที่ข่าวอ้างอิง : 5232