เชิญเที่ยวตำบลคีรีราษฎร์

สร้างโดย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวาย (จังหวัดตาก)

ผู้จัดทำ ธิติมา แสนหาญชัย

ประเภทตัวชี้วัด : ด้านการพัฒนานวัตกรรมและงานวิจัย


             รายงานการพัฒนาหมู่บ้าน (Village Development Report : VDR) บ้านใหม่คีรีราษฎร์ หมู่ที่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน บ้านใหม่คีรีราษฎร์ แยกเป็นหมู่บ้านใหม่จากบ้านปุาคา หมู่ ๔ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เนื่องจากเป็นหมู่บ้านแยกใหม่ จึงมีชื่อว่าบ้านใหม่คีรีราษฎร์ หมู่ ๙ มีนายณัฐกฤษ ชนิดาพงศ์พันธ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก โดยมีครัวเรือนเริ่มแรกประมาณ ๒๒๑ ครัวเรือน ปัจจุบันมีนายพีรพัฒน์ วิบูลธัญธนกิจ เป็นผู้ใหญ่บ้าน ที่ตั้งและอาณาเขต บ้านใหม่คีรีราษฎร์ หมู่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ของที่ว่าการอาเภอพบพระ ระยะทาง ๓๙ กม. ห่างศาลากลางจังหวัดตาก เป็นระยะทาง ๑๓๐ กม. อาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อบ้านปุาคา หมู่ที่ ๔ ตาบลคีรีราษฎร์ อาเภอพบพระ ทิศใต้ ติดต่อบ้านเสริมสุข หมู่ที่ ๑๑ ตาบลรวมไทยพัฒนา อาเภอพบพระ ทิศตะวันออก ติดต่อสถานีวิทยุเคลื่อนที่ หมู่ที่ ๔ คีรีราษฎร์ อาเภอพบพระ ทิศตะวันตก ติดต่อบ้านเสรีราษฎร์ หมู่ที่ ๖ ตาบลช่องแคบ อาเภอพบพระ รายงานการพัฒนาหมู่บ้าน (Village Development Report : VDR) บ้านใหม่คีรีราษฎร์ หมู่ที่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน บ้านใหม่คีรีราษฎร์ แยกเป็นหมู่บ้านใหม่จากบ้านปุาคา หมู่ ๔ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เนื่องจากเป็นหมู่บ้านแยกใหม่ จึงมีชื่อว่าบ้านใหม่คีรีราษฎร์ หมู่ ๙ มีนายณัฐกฤษ ชนิดาพงศ์พันธ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก โดยมีครัวเรือนเริ่มแรกประมาณ ๒๒๑ ครัวเรือน ปัจจุบันมีนายพีรพัฒน์ วิบูลธัญธนกิจ เป็นผู้ใหญ่บ้าน ที่ตั้งและอาณาเขต บ้านใหม่คีรีราษฎร์ หมู่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ของที่ว่าการอาเภอพบพระ ระยะทาง ๓๙ กม. ห่างศาลากลางจังหวัดตาก เป็นระยะทาง ๑๓๐ กม. อาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อบ้านปุาคา หมู่ที่ ๔ ตาบลคีรีราษฎร์ อาเภอพบพระ ทิศใต้ ติดต่อบ้านเสริมสุข หมู่ที่ ๑๑ ตาบลรวมไทยพัฒนา อาเภอพบพระ ทิศตะวันออก ติดต่อสถานีวิทยุเคลื่อนที่ หมู่ที่ ๔ คีรีราษฎร์ อาเภอพบพระ ทิศตะวันตก ติดต่อบ้านเสรีราษฎร์ หมู่ที่ ๖ ตาบลช่องแคบ อาเภอพบพระ ด้านการเมืองการปกครอง บ้านใหม่คีรีราษฎร์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยภูเขา เผ่าม้ง ปัจจุบันมีนาย พีรพัฒน์ วิบูลธัญธนกิจ เป็นผู้ใหญ่บ้าน จานวนครัวเรือนทั้งหมด ๒๔๘ ครัวเรือน (จปฐ.ปี ๒๕๕๔) ประชากรทั้งหมด ๑,๐๖๔ คน (ชาย ๕๓๒ คนหญิง ๕๓๒ คน) ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ บ้านใหม่คีรีราษฎร์ มีสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสูงสลับเนินเขามีความลาดชันต่า ประกอบไปด้วยปุาไม้และเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน มีแหล่งน้าธรรมชาติที่สาคัญคืออ่างเก็บน้าร่มเกล้า ๑ แห่ง ปุาชุมชน ๗ ไร่ สภาพอากาศ เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศตั้งอยู่ในเขตมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ภูมิอากาศส่วนใหญ่จึงมีอากาศเย็นสบาย แบ่งตามฤดูกาลได้ ๓ ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่มจากเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ฤดูฝน เริ่มจากเดือนมิถุนายน-ตุลาคม ฤดูหนาว เริ่มจากเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ ในช่วงฤดูร้อนอากาศไม่ร้อนจัด เพราะเป็นที่สูงมีลมพัด ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็น ฤดูฝนมีฝนตกชุกและสม่าเสมอตลอดฤดู การคมนาคม / ขนาดพื้นที่ ถนนลาดยาง ๑ เส้น ระยะทาง ๕๐๐ ม. ถนนคอนกรีต ๖ เส้น ระยะทาง ๒ กม. ถนนลูกรัง ๖ เส้น ระยะทาง ๒ กม. พื้นที่หมู่บ้านรวม ๓,๐๒๕ ไร่ แยกเป็น พื้นที่อยู่อาศัย ๑๗๕ ไร่ พื้นที่การเกษตร ๒,๕๐๐ ไร่ พื้นที่สาธารณประโยชน์ ๓๐๐ ไร่ พื้นที่ปุาชุมชน ๗ ไร่ สภาพทางสังคม ภาษา ศาสนา ความเชื่อขนบธรรมเนียมและประเพณี การศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนนับถือศาสนาพุทธจานวน ๒๒๗ ครัวเรือน ประชาชนนับถือศาสนาคริสต์จานวน ๒๑ ครัวเรือน ศาสนสถานอื่นๆ(ระบุ) นับถือบรรพบุรุษ โบสถ์คริสต์จักร ๑ แห่ง มีโรงเรียน ๑ แห่ง สอนระดับสูงสุด มัธยมศึกษาปี ๖ มีนักเรียน ๑,๓๖๕ คน ครู ๔๓ คน ครูใหญ่/อาจารย์ใหญ่/ผอ.ชื่อ จ.ส.ท.ศักดิ์ดนัย พฤกษ์เจริญ สภาพทางเศรษฐกิจ จากการสารวจข้อมูล จ.ป.ฐ. ปี ๒๕๕๔ พบว่าบ้านใหม่คีรีราษฎร์ หมู่ที่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ มีรายได้เฉลี่ยคนละ ๕๓,๑๐๙.๐๗ บาท/คน/ปี การประกอบอาชีพ ๑.อาชีพหลัก ได้แก่ทาไร่ เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ข้าว พืชผักตามฤดูกาล ปลูกพืชผัก เช่น กะหล่าปลี ผักกาดขาวปลี กระเทียม หอมแดง พริก ผักกาดหัวและมันฝรั่ง ทานาและปลูกข้าวไร่ ๒.อาชีพเสริม ได้แก่ กลุ่มทอผ้าใยกัญชง เย็บผ้าและปักผักลายชาวเขา ผลิตภัณฑ์ชุมชน เสื้อสงกรานต์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสตรีบ้านใหม่คีรีราษฎร์ ยังมีผลิตภัณฑ์ชุมชน ที่เกิดจากภูมิปัญญาพื้นถิ่นที่ตกทอดกันมาหลายชั่วอายุคน ได้แก่ ผ้าทอใยกัญชง ผ้าปักชาวเขาเผ่าม้ง แหล่งท่องเที่ยวทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม อ่างเก็บน้้าร่มเกล้า กลุ่มองค์กร/ทุนในชุมชน ผู้น้า ปราชญ์ ๑.วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรีบ้านใหม่คีรีราษฎร์ ประธานคือคือ นางจ๊ะ แซ่ย่าง บ้านเลขที่ ๕๒ หมู่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ โทรศัพท์ ๐๘๐๘๓๙๘๓๑๓ มีจานวนสมาชิก ๔๕ คน กรรมการ ๑๕ คน กิจกรรมของกลุ่มคือ ตัดเย็บเสื้อผ้า ๒.กลุ่มทอผ้าใยกัญชง ประธานคือ นางอ่า โรจน์นภาลัย บ้านเลขที่ ๖๘ หมู่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ โทรศัพท์ ๐๘๔๕๒๖๔๑๓๓ มีสมาชิก ๑๐๐ คน กรรมการ ๒๐ คน กิจกรรมของกลุ่มคือ ทอผ้าใยกัญชง ๓.กลุ่มสมาชิกศิลปาชีพ ประธานคือนางหมี่ พิทยาสะท้านภพ บ้านเลขที่ ๔๓ หมู่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ โทรศัพท์ ๐๘๖๒๐๑๙๖๙๗ มีสมาชิก ๕๐ คน กรรมการ ๑๕ คน กิจกรรมของกลุ่มคือ ปักผ้าชาวเขา ๔.กลุ่มตีมีด ประธานคือ นายว่าง แซ่เฮ้อ บ้านเลขที่ ๒๙ หมู่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ โทรศัพท์ - มีสมาชิก ๔ คน กรรมการ ๔ คน กิจกรรมของกลุ่ม คือตีมีด ๕.อุตหกรรมขนาดย่อม ตุ๊กตาเรซิ่น ประธานคือ นายทรัพย์ เฟื่องฟูกิจการ บ้านเลขที่ ๒๒๖ หมู่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ โทรศัพท์ ๐๘๑๓๖๖๙๕๘๐ ๖.กองทุนหมู่บ้าน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท มีจานวนสมาชิก ๑๕๐ คน ประธานคือ นายโยธิน สืบท้าวสกุล บ้านเลขที่ ๑๐๗ หมู่ ๙ ตาบลคีรีราษฎร์ โทรศัพท์ ๐๘๔๘๒๗๓๓๕, ๐๘๐๖๘๕๗๙๓๒ ๗.อาสาพัฒนาชุมชน ๑.นายโยธิน สืบท้าวสกุล ๒.นายสัญชัย สินวิริยะนนท์ ๓.นายชานนท์ โชติคัดนานท์ ๔.นายวิกรม สินไพบูลย์เลิศ ภูมิปัญหาท้องถิ่น ๑.การทาผ้าลายขี้ผึ้ง เพื่อนามาตัดเย็บชุดชาวเขาเผ่าม้ง โดยเอาผ้าทอใยกัญชงมาเขียนลายขี้ผึ้ง เป็นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายตาแมว ลายดาว หลังจากนั้นนาผ้าไปต้มในน้าร้อนเพื่อละลายขี้ผึ้งออกจึงเกิดลายผ้าที่งดงามขึ้น เป็นลายที่ชาวเขาเผ่าม้งนิยมสวมใส่กัน ในวันขึ้นปีใหม่ชาวม้ง และวันแต่งงาน ๒.ผ้าปักชาวเขาเผ่าม้ง (The Hmong’s Embroidery) ป็นการใช้ภูมิปัญญาพื้นถิ่นที่ตกทอดกันมาหลายชั่วอายุคน ชิ้นงานประดิษฐ์ด้วยมือของชาวเขาเผ่าม้ง ซึ่งมีเอกลักษณ์ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม มาหลายร้อยปีโดยการออกแบบลวดลายตามภูมิปัญญา มีความประณีตทั้งในการคิดลวดลาย

ที่มา : http://special2.dusitcenter.org/cdcnews/content.php?nid=2792 | เลขที่ข่าวอ้างอิง : 2792